มะระขี้นก* |
||
สำนักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
|
||
ชื่อวิทยาศาสตร์ : |
Momordica charantia L. | |
วงศ์ : |
CUCURBITACEAE | |
ชื่อพ้อง : |
||
ชื่อไทย : |
มะระขี้นก*, ผักเหย, ผักไห, มะร้อยรู, มะระ, มะห่อย, มะไห่, สุพะซู, สุพะเด | |
ชื่ออังกฤษ : |
BALSAM APPLE, BALSUM PEAR, BITTER CUCUMBER, BITTER GOURD, BITTER MELON, CARILLA FRUIT | |
ออกฤทธิ์ : |
ระคายเคืองต่อระบบทางเดินอาหาร | |
ส่วนที่เป็นพิษ : |
เมล็ดของผลสุก | |
สารพิษ : |
Saponin | |
อาการ : |
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง กระเพาะอาหารและลำไส้อักเสบ ถ้าอาการรุนแรง พิษอาจทำลายเนื้อเยื่อ ถ้ามีการดูดซึม จะมีอาการกระวนกระวาย ปวดศีรษะ เป็นไข้ กระหายน้ำ ม่านตาขยาย หน้าแดง กล้ามเนื้ออ่อนเปลี้ย ทำงานไม่สัมพันธ์กัน อาจจะแสดงพิษต่อระบบไหลเวียนโลหิต และชัก | |
วิธีการรักษา : |
1. รับประทานไข่ขาว เพื่อลดการดูดซึมสารพิษ
2. นำส่งโรงพยาบาล เพื่อให้น้ำเหลือชดเชยการสูญเสียน้ำและเกลือแร่ หมายเหตุ ยังไม่มีวิธีการเฉพาะสำหรับแก้พิษเมื่อมีการดูดซึมสารพิษเข้าสู่ ร่างกาย |
|
(ภาพสมุนไพรส่วนหนึ่งได้รับความอนุเคราะห์จาก ภาควิชาเภสัชพฤษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล) |